วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
วันพุธที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
โรงเรียนในอำเภอ ธารโต
โรงเรียน ธารโตวัฑฒนวิทย์ โรงเรียน ใน ตำบล ธารโต อำเภอ ธารโต จังหวัด สพม. เขต 15
2. โรงเรียน นิคมสร้างตนเองธารโต 5
โรงเรียน นิคมสร้างตนเองธารโต 5 โรงเรียน ใน ตำบล ธารโต อำเภอ ธารโต จังหวัด ยะลา สพป.ยะลา เขต 33. โรงเรียน นิคมสร้างตนเองธารโต 6
โรงเรียน นิคมสร้างตนเองธารโต 6 โรงเรียน ใน ตำบล บ้านแหร อำเภอ ธารโต จังหวัด ยะลา สพป.ยะลา เขต 34. โรงเรียน บ้านจุโป
โรงเรียน บ้านจุโป โรงเรียน ใน ตำบล แม่หวาด อำเภอ ธารโต จังหวัด ยะลา สพป.ยะลา เขต 3
5. โรงเรียน บ้านโต
โรงเรียน บ้านโต โรงเรียน ใน ตำบล แม่หวาด อำเภอ ธารโต จังหวัด ยะลา สพป.ยะลา เขต 3
6. โรงเรียน บ้านไทยพัฒนา
โรงเรียน บ้านไทยพัฒนา โรงเรียน ใน ตำบล คีรีเขต อำเภอ ธารโต จังหวัด ยะลา สพป.ยะลา เขต 37. โรงเรียน บ้านนิคมสร้างตนเองธารโต
โรงเรียน บ้านนิคมสร้างตนเองธารโต โรงเรียน ใน ตำบล ธารโต อำเภอ ธารโต จังหวัด ยะลา สพป.ยะลา เขต 38. โรงเรียน บ้านบ่อหิน
โรงเรียน บ้านบ่อหิน โรงเรียน ใน ตำบล บ้านแหร อำเภอ ธารโต จังหวัด ยะลา สพป.ยะลา เขต 39. โรงเรียน บ้านบัวทอง
โรงเรียน บ้านบัวทอง โรงเรียน ใน ตำบล บ้านแหร อำเภอ ธารโต จังหวัด ยะลา สพป.ยะลา เขต 310. โรงเรียน บ้านปะเด็ง
โรงเรียน บ้านปะเด็ง โรงเรียน ใน ตำบล แม่หวาด อำเภอ ธารโต จังหวัด ยะลา สพป.ยะลา เขต 3สินค้า OTOP
ไม้กวาดดอกหญ้า |
เป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรมที่ทำจากดอกหญ้ารวมกัน ด้วยเชือกไนล่อนหลากสี ขนาดยาวประมาณ 80 ซ.ม. |
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ เป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรมที่ทำจากดอกหญ้ารวมกัน ด้วยเชือกไนล่อนหลากสี ขนาดยาวประมาณ 80 ซ.ม. วัตถุดิบที่ใช้ ดอกหญ้า, เชือกไนล่อน กระบวนการผลิต นำก้านดอกหญ้า จำนวนปริมาณพอเหมาะ โดยหากต้องการให้ไม้กวาดสามารถใช้กวาดได้ดี ก็ใช้ดอกหญ้าจำนวนมากกว่าปกติ มามัดรวมกันด้วยเชือกไนล่อนโดยขึ้นอยู่กับความถนัดของแต่ละบุคคลในการพันคอไม้กวาด ซึ่งจะมีรูปแบบที่แตกต่างกันบ้าง การใช้/ประโยชน์ ใช้กวาดขยะหรือปัดฝุ่นบนพื้นอาคารที่แห้ง สถานที่จำหน่าย สหกรณ์น้ำยางปะเด็งก้าวหน้า ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 7 ต.แม่หวาด อ.ธารโต จ.ยะลา ติดต่อ : นายกนกพงศ์ ฟุ้งแสงรุ่งเรือง โทร :073-219214 |
อาหารประจำท้องถิ่น
อาหารประจำท้องถิิ่น
เม็ดเหรียง เป็นคำเรียกของคนภาคใต้ มีลักษณะคล้ายถั่วงอกหัวโต แต่หัวและหางใหญ่กว่ามาก สีเขียว เวลาจะรับประทานต้องแกะเปลือกซึ่งเป็นสีดำออกก่อน จะนำไปรับประทานสดๆ หรือนำไปผัดกับเนื้อสัตว์ หรือนำไปดองรับประทาน
กับแกงต่างๆ หรือกับน้ำพริกกะปิ หรือ กับหลนก็ได้
ลูกเนียง มีลักษณะกลม เปลือกแข็งสีเขียวคล้ำเกือบดำ ต้องแกะเปลือกนอก แล้วรับประทานเนื้อใน ซึ่งมีเปลือกอ่อนหุ้มอยู่ เปลือกอ่อนนี้จะลอกออกหรือไม่ลอกก็ได้แล้วแต่ความชอบ ใช้รับประทานสดๆ กับน้ำพริกกะปิ หลนแกงเผ็ด โดยเฉพาะแกงไตปลา ลูกเนียงที่แก่จัดใช้ทำเป็นของหวานได้ โดยนำไปต้มให้สุกแล้วใส่มะพร้าวทึนทึกขูดฝอย และน้ำตาลทรายคลุกให้เข้ากัน
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
น้ำตกธารโต
น้ำตกธารโต
อยู่ที่ตำบลถ้ำทะลุ ห่างจากตัวเมืองยะลาไปตามถนนสายยะลา-เบตง (ทางหลวง 410) กิโลเมตรที่ 47-48 มีทางแยกขวาไปอีกราว 1 กิโลเมตร เป็นน้ำตกขนาดใหญ่ 7 ชั้น มองเห็นเป็นทางน้ำที่ไหลลดหลั่นมาจากภูเขาสูง มีแอ่งน้ำซึ่งสามารถเล่นน้ำได้ โดยรอบร่มรื่นไปด้วยป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ มีพันธุ์ไม้ที่น่าสนใจมากมายรวมทั้งต้นศรียะลา หรืออโศกเหลือง ซึ่งจะออกดอกชูช่อสีเหลืองสวยงามในราวเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
น้ำตกละอองรุ้ง
อยู่ที่หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านแหร ห่างจากตัวจังหวัดยะลาไปทางเบตงประมาณ 80 กิโลเมตร ด้านขวามือ มีทางเข้าไปยังหมู่บ้านที่อาศัยของชนเผ่าซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนาม “เงาะซาไก” เดิมดำรงชีวิตอยู่ด้วยการหาของป่า มีความชำนาญในด้านสมุนไพรและเป่าลูกดอกล่าสัตว์ บ้านเรือนของซาไกเดิมสร้างด้วยไม้ไผ่ มุงหลังคาจาก ต่อมา กรมประชาสงเคราะห์ได้พัฒนาหมู่บ้านแห่งนี้ โดยรวบรวมชาวซาไกมาอาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน และให้มีอาชีพทำสวนยางและได้กราบบังคมทูลสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีขอใช้คำว่า “ศรีธารโต” ให้ทุกคนใช้เป็นนามสกุล ปัจจุบันมีชนเผ่าซาไกที่ยังคงอาศัยอยู่บ้าง แต่บางส่วนได้แยกย้ายไปทำงานที่อื่น
หมู่บ้านซาไก
อยู่ที่หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านแหร ห่างจากตัวจังหวัดยะลาไปทางเบตงประมาณ 80 กิโลเมตร ด้านขวามือ มีทางเข้าไปยังหมู่บ้านที่อาศัยของชนเผ่าซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนาม “เงาะซาไก” เดิมดำรงชีวิตอยู่ด้วยการหาของป่า มีความชำนาญในด้านสมุนไพรและเป่าลูกดอกล่าสัตว์ บ้านเรือนของซาไกเดิมสร้างด้วยไม้ไผ่ มุงหลังคาจาก ต่อมา กรมประชาสงเคราะห์ได้พัฒนาหมู่บ้านแห่งนี้ โดยรวบรวมชาวซาไกมาอาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน และให้มีอาชีพทำสวนยางและได้กราบบังคมทูลสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีขอใช้คำว่า “ศรีธารโต” ให้ทุกคนใช้เป็นนามสกุล ปัจจุบันมีชนเผ่าซาไกที่ยังคงอาศัยอยู่บ้าง แต่บางส่วนได้แยกย้ายไปทำงานที่อื่น
ข้อมูลทั่วไป
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)